วันพฤหัสบดีที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557
หาดเจ้าสำราญ
หาดเจ้าสำราญ ตั้งอยู่ในตำบลหาดเจ้าสำราญ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรีห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี ประมาณ 15 กิโลเมตร ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความสำคัญตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน มีประวัติเล่ากันมาว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เคยเสด็จมาที่นี่ พร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงพอพระราชหฤทัย ในความงาม ของหาดนี้มาก ทรงประทับแรม อยู่หลายวัน จน ชาวบ้าน เรียกหาดนี้ว่า หาดเจ้าสำราญ จากหาดเจ้าสำราญ ไปทาง ใต้ประมาณ 7 กิโลเมตร เป็นชายหาดปึกเตียน ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยว อีกแห่งของจังหวัดเพชรบุรี หาดเจ้าสำราญ เจริญถึงขีดสุดในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นหาดที่มี ชื่อเสียงมากกว่าหาดอื่นๆในสมัยนั้น โดยทรงโปรดเกล้าให้สร้างค่ายหลวงขึ้นเรียกว่า "ค่ายหลวงบางทะลุ" ตามชื่อ ของตำบลบางทะลุ ที่เป็นที่ตั้งโดยมี "พระตำหนักบริเวณริมหาดแห่งนี้เรียกว่า “พระตำหนักหาดเจ้าสำราญ” ภาย หลังทรงหายจากพระประชวร ทรงได้เปลี่ยนชื่อตำบลเสียใหม่ ด้วยชื่อเดิมเห็นว่าไม่เป็นมงคล เป็น ตำบลหาด เจ้าสำราญ ตามชื่อของหาดแต่ต่อมาทรงได้ย้ายพระตำหนักไปยังจุดที่เป็น พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ในปัจจุบัน เพราะหาดเจ้า สำราญมีแมลงวันชุมเนื่องจากพระตำหนักแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้หมู่บ้าน ชาวประมงทำให้พระ ตำหนัก แห่งนี้มีแมลงวัน ชุมจนพระองค์แอบได้ยินข้าราชบริพารในพระองค์ บ่นว่า "หาดเจ้าสำราญแต่ข้าราช บริพารเบื่อ" และหาดแห่งนี้ขาดแคลนน้ำจืดจึงโปรดให้ย้ายไปในที่สุด
ชายหาดแห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าไปพักผ่อนแห่งหนึ่ง มีบรรยากาศที่เงียบสงบ อากาศเย็นสบาย มีสัตว์ทะเล ที่อุดมสมบูรณ์ ทั้ง ปูเสฉวน หอย แมงกะพรุน มีที่พักพร้อม มีร้านสะดวกซื้ออยู่ใกล้เคียง สามารถลงเล่นน้ำได้ ในบริเวณใกล้เคียงมีหมู่บ้านชาวประมง ชายหาดแห่งนี้ทรายถูกพัดถมขึ้นมามากขึ้นเรื่อยๆ จึงมีทรายที่ละเอียดมาก ในส่วนของต้นหาด ที่นี่จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ไม่ต้องไปไกลมาก และมีความสวยงามมากแห่งหนึ่ง
ถ้ำเขาหลวง
ถ้ำเขาหลวง ตั้งอยู่ที่อยู่บนเขาหลวง ห่างจากเขาวังประมาณ 5 กิโลเมตร จากเชิงเขามีบันไดคอนกรีตนำสู่ทาง ลงถ้ำ เขาหลวงเป็นภูเขาขนาดเล็ก มียอดสูงสุดเพียง 92 เมตร มีหินงอกหินย้อย สีสันสวยงาม ภาย ในมีปล่องที่ แสงอาทิตย์สามารถส่องเข้ามาภายในถ้ำได้ ทำให้สวยงามยิ่งขึ้น สำหรับถ้ำเขาหลวง ถือเป็นถ้ำใหญ่และ สำคัญ ที่สุดในเมืองเพชร ภายในถ้ำประดิษฐานพระพุทธรูปฉลองพระองค์อันสำคัญยิ่ง ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างถวาย พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ถ้ำแห่งนี้เคยเป็นที่เสด็จ ประพาสมา ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงโปรดถ้ำเขาหลวงนี้มาก โดยทรงบูรณะพระ พุทธรูปเก่าแก่ที่มีมาแต่โบราณ ภายในถ้ำ นี้หลายองค์ด้วยกัน และโปรดเกล้าฯ ให้สร้างบันได หินลงไปในถ้ำ ตรงทางเข้าเชิงเขาหลวงนั้น ขวามือมีวัดใหญ่อยู่วัดหนึ่งชาวเมืองเรียกว่า"วัดถ้ำแกลบ" ปัจจุบันคือ "วัดบุญทวี"ซึ่งเป็นวัดใหญ่ น่าชมมาก เพราะท่านเจ้าอาวาสวัดนี้ท่านเป็นช่าง ได้ออกแบบศาลาการเปรียญและ ได้ สร้างสำเร็จเป็น ศาลาการเปรียญที่ใหญ่มาก และประตูโบสถ์เป็นไม้สลักลายสวยงามมาก วัดถ้ำแกลบนี้ มีตำนาน เล่าว่า ปากถ้ำแกลบที่วัดนี้คือทางเข้าสู่เมืองลับแลอันเป็นเมืองที่มีแต่หญิงสาวทั้งนั้น แต่ก็เป็นเพียง ตำนานของ ชาวเมืองเพชรนับร้อย ๆ ปีมาแล้ว ประวัติเล่าไว้ว่า รัชกาลที่ 4 เสด็จมาพร้อมโอรส 2 พระองค์ และโปรดให้ พระบรมวงศานุวงศ์ ร่วมกันสร้างพระ และทรงบูรณะ เช่น สร้างรอยพระพุทธบาทจำลอง รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จ มาบูรณะต่อ แล้วพระราชทานนามว่า วิมานจักรี ปัจจุบันมีพระพุทธรูปในถ้ำรวม 170 องค์ มีเจดีย์ในถ้ำ 6 องค์ ภายในถ้ำแบ่งพื้นที่โดยธรรมชาติเป็น3 ห้องคือ
ห้องแรก มีพระพุทธบาทจำลอง มีหินที่เกิดจากน้ำหยดลงมาเป็นรูปเหมือนเต่า ห้องนี้หินงอก หินย้อยสวยมา และหินย้อยบางก้อนถูกคนลักตัดเอาไป
ห้องที่ 2 เดินต่อไปจากห้องแรก เดินสะดวกถึงกันหมดทั้ง 3 ห้อง มีพระพุทธรูปเรียงรายรอบห้อง มีปล่องให้แสง สว่างเข้ามาพื้นถ้ำ นอกจากสวยแล้วยังให้ความสว่าง มีพระพุทธไสยาสน์ หลวงพ่อโตซึ่งเป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ ที่ี่ผู้ลงมาเที่ยวถ้ำ จะมากราบไหว้บูชา มีธูปเทียนจำหน่ายให้นำไปบูชา มีพระนาคปรก และที่ฐานพระพุทธรูปองค์ หนึ่งยังมีตราประจำพระองค์ของรัชกาลที่1-5 จารึกไว้ด้วยภายในถ้ำทุกห้องงามด้วยหินงอกหินย้อยและมีอากาศ เย็นสบายไม่อับชื้น ถ้ำเขาหลวงมีชาวไทย ชาวต่างประเทศ ลงมาเที่ยวกันนานนับร้อยปีแล้ว มีบันทึกของ ชาวยุโรปและภาพปรากฏในงานพิมพ์ของอังรี มูโอ นักธรรมชาติิวิทยาชาวฝรั่งเศสที่เดินทางมายังไทย ลาว กัมพูชาแล้วกลับไปตีพิมพ์ไว้เมื่อ พ.ศ.2407ถ้ำเขาหลวงนี้สุนทรภู่ไดเคยมาเที่ยวและเล่าไว้ใน นิราศเมืองเพชร อีกด้วย
ห้องที่ 2 เดินต่อไปจากห้องแรก เดินสะดวกถึงกันหมดทั้ง 3 ห้อง มีพระพุทธรูปเรียงรายรอบห้อง มีปล่องให้แสง สว่างเข้ามาพื้นถ้ำ นอกจากสวยแล้วยังให้ความสว่าง มีพระพุทธไสยาสน์ หลวงพ่อโตซึ่งเป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ ที่ี่ผู้ลงมาเที่ยวถ้ำ จะมากราบไหว้บูชา มีธูปเทียนจำหน่ายให้นำไปบูชา มีพระนาคปรก และที่ฐานพระพุทธรูปองค์ หนึ่งยังมีตราประจำพระองค์ของรัชกาลที่1-5 จารึกไว้ด้วยภายในถ้ำทุกห้องงามด้วยหินงอกหินย้อยและมีอากาศ เย็นสบายไม่อับชื้น ถ้ำเขาหลวงมีชาวไทย ชาวต่างประเทศ ลงมาเที่ยวกันนานนับร้อยปีแล้ว มีบันทึกของ ชาวยุโรปและภาพปรากฏในงานพิมพ์ของอังรี มูโอ นักธรรมชาติิวิทยาชาวฝรั่งเศสที่เดินทางมายังไทย ลาว กัมพูชาแล้วกลับไปตีพิมพ์ไว้เมื่อ พ.ศ.2407ถ้ำเขาหลวงนี้สุนทรภู่ไดเคยมาเที่ยวและเล่าไว้ใน นิราศเมืองเพชร อีกด้วย
การเิดินทางไปถ้ำเขาหลวง
1.รถยนต์ส่วนตัว
จากถนนพระราม 2 แล้ววิ่งไปผ่านสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ปากท่อ เส้นนี้หากเป็นวันหยุดสุดสัปดาห์ ในวันกลับ รถจะติดมากคือ ติดกันตั้งแต่เลี้ยวเข้าสาย 35 (พระราม 2) ที่บริเวณแยกวังมะนาวเมื่อวิ่งมาถึงเขตเพชรบุรีก่อน เข้าเมืองจะพบทางเลี้ยงเมืองทางขวา หากจะไปชะอำ หัวหิน ก็แยกขวาไปได้เลย แต่ถ้าจะเข้าเมืองก็ตรงไปจะชน กับสามเแยกศาลหลักเมือง ลี้ยวซ้ายไปตามถนน 3173อีกประมาณ3 กม. เศษ ๆ คือ ทางลงถ้ำเขาหลวงเมื่อมาถึง ถ้ำเขาหลวง มีบันไดคอนกรีตเดินไปสู่ปากน้ำ พอถึงปากถ้ำต้องเดินลงบันไดที่ค่อนข้างชัน เดินลงไปอีก 99 ขั้น
จากถนนพระราม 2 แล้ววิ่งไปผ่านสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ปากท่อ เส้นนี้หากเป็นวันหยุดสุดสัปดาห์ ในวันกลับ รถจะติดมากคือ ติดกันตั้งแต่เลี้ยวเข้าสาย 35 (พระราม 2) ที่บริเวณแยกวังมะนาวเมื่อวิ่งมาถึงเขตเพชรบุรีก่อน เข้าเมืองจะพบทางเลี้ยงเมืองทางขวา หากจะไปชะอำ หัวหิน ก็แยกขวาไปได้เลย แต่ถ้าจะเข้าเมืองก็ตรงไปจะชน กับสามเแยกศาลหลักเมือง ลี้ยวซ้ายไปตามถนน 3173อีกประมาณ3 กม. เศษ ๆ คือ ทางลงถ้ำเขาหลวงเมื่อมาถึง ถ้ำเขาหลวง มีบันไดคอนกรีตเดินไปสู่ปากน้ำ พอถึงปากถ้ำต้องเดินลงบันไดที่ค่อนข้างชัน เดินลงไปอีก 99 ขั้น
การเดินทางไปจังหวัดเพชรบุรี
1.โดยรถยนต์
จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 35 (ถนนพระราม 2 หรือธนบุรี-ปากท่อ) ผ่านสมุทรสาคร สมุทรสงคราม อำเภอปากท่อ แล้วแยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 4 ถึงจังหวัดเพชรบุรี รวมระยะทางประมาณ 123 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมงครึ่งหรือใช้ทางหลวงหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ผ่านนครปฐม ราชบุรี ไปยังเพชรบุรี รวมระยะทางประมาณ 166 กิโลเมตรใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง
2. โดยรถประจำทาง
มีรถประจำทางปรับอากาศสายกรุงเทพฯ-เพชรบุรี ออกจากสถานีขนส่งสายใต้ ถนนบรมราชชนนี ทุกวัน วันละ หลายเที่ยว สอบถามรายละเอียดได้ที่บริษัท ขนส่ง จำกัด โทร.1490 www.transport.co.th
ปัจจุบันบริษัท ขนส่ง จำกัด ได้เปิดให้บริการจองตั๋วรถโดยสารออนไลน์แล้ว ติดต่อได้ที่ www.thaiticketmajor.com
3.โดยรถไฟ
การรถไฟแห่งประเทศไทยมีบริการรถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) และสถานีรถไฟธนบุรี ไปยัง จังหวัดเพชรบุรีทุกวัน ทั้งรถธรรมดา รถเร็ว รถด่วน และรถด่วนพิเศษ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 2.5-3 ชั่วโมง
นักท่องเที่ยวสามารถสอบถามข้อมูลการเดินทางและราคาตั๋วโดยสารของการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ที่หมาย เลขโทรศัพท์ 1690 ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง หรือทางเว็บไซต์ www.railway.co.th และจองตั๋วรถไฟก่อนวันเดิน ทางไม่น้อยกว่า 3 วัน ได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2220-4444 ทุกวัน เวลา 08.30-16.30
จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 35 (ถนนพระราม 2 หรือธนบุรี-ปากท่อ) ผ่านสมุทรสาคร สมุทรสงคราม อำเภอปากท่อ แล้วแยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 4 ถึงจังหวัดเพชรบุรี รวมระยะทางประมาณ 123 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมงครึ่งหรือใช้ทางหลวงหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ผ่านนครปฐม ราชบุรี ไปยังเพชรบุรี รวมระยะทางประมาณ 166 กิโลเมตรใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง
2. โดยรถประจำทาง
มีรถประจำทางปรับอากาศสายกรุงเทพฯ-เพชรบุรี ออกจากสถานีขนส่งสายใต้ ถนนบรมราชชนนี ทุกวัน วันละ หลายเที่ยว สอบถามรายละเอียดได้ที่บริษัท ขนส่ง จำกัด โทร.1490 www.transport.co.th
ปัจจุบันบริษัท ขนส่ง จำกัด ได้เปิดให้บริการจองตั๋วรถโดยสารออนไลน์แล้ว ติดต่อได้ที่ www.thaiticketmajor.com
3.โดยรถไฟ
การรถไฟแห่งประเทศไทยมีบริการรถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) และสถานีรถไฟธนบุรี ไปยัง จังหวัดเพชรบุรีทุกวัน ทั้งรถธรรมดา รถเร็ว รถด่วน และรถด่วนพิเศษ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 2.5-3 ชั่วโมง
นักท่องเที่ยวสามารถสอบถามข้อมูลการเดินทางและราคาตั๋วโดยสารของการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ที่หมาย เลขโทรศัพท์ 1690 ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง หรือทางเว็บไซต์ www.railway.co.th และจองตั๋วรถไฟก่อนวันเดิน ทางไม่น้อยกว่า 3 วัน ได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2220-4444 ทุกวัน เวลา 08.30-16.30
การเดินทางภายใน เพชรบุรี
ในตัวจังหวัดเพชรบุรีมีรถชนิดต่างๆ ให้บริการ นักท่องเที่ยวสามารถเลือกใช้บริการยานพาหนะต่างๆ ได้หลายรูป แบบตามความเหมาะสมรถสองแถว มีวิ่งบริการจากสถานีขนส่งไปยังที่ต่างๆ ในตัวเมือง นักท่องเที่ยวอาจเหมา รถสองแถวไปเที่ยวได้ทั้งในเมืองและต่างอำเภอ คิดราคาวันละ 1,000-2,000 บาท ขึ้นอยู่กับระยะทางและการ ต่อรองรถสามล้อเครื่องและมอเตอร์ไซค์รับจ้าง จอดอยู่ตามจุดต่างๆ ในจังหวัด เช่น หน้าตลาดเทศบาลหน้า สถานีขนส่ง และสถานีรถไฟ ค่าบริการมีทั้งแบบตกลงกันตามแต่ระยะทางและแบบเหมาจ่าย
เขาวัง อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี
เขาวัง หรือ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เป็นสถานที่เที่ยวที่สำคัญของเพชรบุรีซึ่งถือได้ว่า เป็นสัญลักษณ์ ของเมืองเพชรบุรี เพราะเมื่อเข้าสู่ เมืองเพชรบุรี สิ่งที่จะได้เห็นโดดเด่นเห็นมาแต่ไกล คือ เขาวัง ซึ่งมีเจดีย์และ อาคารสีขาวสะอาดเชาวัง เป็นโบราณสถานที่เก่าแก่คู่เมืองเพชรบุรี ตั้งอยู่บนยอดเขาสูง 92 เมตร เดิมเรียกว่า เขาสมนหรือเขาคีรี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพอพระราชหฤทัยที่จะสร้าง พระราชวัง สําหรับเสด็จแปรพระราชฐานขึ้นบนยอดเขาแห่งนี้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาเพชรนิสัยศรีสวัสดิ์ปลัดเมือง เพชรบุรีเป็นนายงานก่อสร้าง จนสําเร็จเรียบร้อยเมื่อปีพ.ศ.2403 ทรงพระราชทานนามว่า พระนครคีรี แต่ชาวเมือง เพชรเรียกกันติดปากว่า เขาวัง สืบมาจนบัดนี้
สิ่งที่น่าสนใจบนเขาวัง
เขาวังมีพระที่นั่ง พระตําหนัก วัด และกลุ่มอาคารต่างๆ มากมาย ส่วนใหญ่เป็นสถาปัตยกรรม ตะวันตกแบบ นิโอคลาสสิคผสมสถาปัตยกรรมจีน ตั้งอยู่บนยอดเขาใหญ่ ๆ 3 ยอดด้วยกัน ดังนี้
เขาวังมีพระที่นั่ง พระตําหนัก วัด และกลุ่มอาคารต่างๆ มากมาย ส่วนใหญ่เป็นสถาปัตยกรรม ตะวันตกแบบ นิโอคลาสสิคผสมสถาปัตยกรรมจีน ตั้งอยู่บนยอดเขาใหญ่ ๆ 3 ยอดด้วยกัน ดังนี้
ยอดเขาด้านทิศตะวันตก เป็นที่ตั้งของพระราชวังพระนครคีรี
เป็นที่ตั้งของพระราชวังที่ประทับอันได้แก่
- พระที่นั่งสันถาคารสถาน เป็นหมู่พระที่นั่งขนาดใหญ่ สำหรับต้อนรับแขกเมืองที่มาพักบนพระนครคีรี มีห้องรับ แขกอยู่ตรงกลาง สองข้างเป็นห้องนอน มีมุขหน้ายื่น
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครคีรี ปัจจุบันเป็นพระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์ และพระที่นั่งปราโมทย์มไหสวรรย์พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์เป็น พระที่นั่ง องค์ใหญ่ที่สุดภายในจัดเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงเครื่องราชูปโภค เช่น พระแท่นบรรทม พระฉาย (กระจกเงา) บานใหญ่ เครื่องมุก เครื่องถ้วยชาม ตุ๊กตาโลหะฝีมือช่างยุโรป เป็นต้น
พระที่นั่งปราโมทย์มไหสวรรย์ เป็นที่ประดิษฐานพระแท่นบรรทมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระที่นั่งเวชยันต์วิเชียรปราสาท เป็นปราสาทยอดปรางค์ขนาดย่อม สร้างตามคติที่ว่า การสร้างพระราชวังใหญ่ จะต้องมีปราสาท ภายในประดิษฐาน พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในฉลองพระองค์แบบที่ เคยทรง ในการเสด็จออกรับทูตานุฑูต
- พระที่นั่งราชธรรมสภา สร้างด้วยศิลปะแบบผสมระหว่างไทย จีน และตะวันตก กล่าวคือ มีรูปทรงอาคารคล้าย เก๋งจีน แต่ตกแต่งตามแบบไทยและ ตะวันตก
- หอชัชวาลเวียงชัย เป็นหอทรงกลมสูงสองชั้น หลังคาโค้งกรุกระจกสร้างขึ้นเป็นที่ศึกษาและสังเกตการณ์ ทาง ดาราศาสตร์ สามารถชมทิวทัศน์ ของเมือง เพชรบุรีได้โดยรอบ ในอดีต เวลากลางคืนจะจุดโคมไฟแขวนไว้ภาย ในโดมกระจก เมื่อมองจากทะเลสามารถเห็นได้แต่ไกลจึงเป็นที่หมาย ของชาวเรือในการเดิน เรือเข้าอ่าว บ้านแหลมได้อย่างดี
เป็นที่ตั้งของพระราชวังที่ประทับอันได้แก่
- พระที่นั่งสันถาคารสถาน เป็นหมู่พระที่นั่งขนาดใหญ่ สำหรับต้อนรับแขกเมืองที่มาพักบนพระนครคีรี มีห้องรับ แขกอยู่ตรงกลาง สองข้างเป็นห้องนอน มีมุขหน้ายื่น
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครคีรี ปัจจุบันเป็นพระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์ และพระที่นั่งปราโมทย์มไหสวรรย์พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์เป็น พระที่นั่ง องค์ใหญ่ที่สุดภายในจัดเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงเครื่องราชูปโภค เช่น พระแท่นบรรทม พระฉาย (กระจกเงา) บานใหญ่ เครื่องมุก เครื่องถ้วยชาม ตุ๊กตาโลหะฝีมือช่างยุโรป เป็นต้น
พระที่นั่งปราโมทย์มไหสวรรย์ เป็นที่ประดิษฐานพระแท่นบรรทมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระที่นั่งเวชยันต์วิเชียรปราสาท เป็นปราสาทยอดปรางค์ขนาดย่อม สร้างตามคติที่ว่า การสร้างพระราชวังใหญ่ จะต้องมีปราสาท ภายในประดิษฐาน พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในฉลองพระองค์แบบที่ เคยทรง ในการเสด็จออกรับทูตานุฑูต
- พระที่นั่งราชธรรมสภา สร้างด้วยศิลปะแบบผสมระหว่างไทย จีน และตะวันตก กล่าวคือ มีรูปทรงอาคารคล้าย เก๋งจีน แต่ตกแต่งตามแบบไทยและ ตะวันตก
- หอชัชวาลเวียงชัย เป็นหอทรงกลมสูงสองชั้น หลังคาโค้งกรุกระจกสร้างขึ้นเป็นที่ศึกษาและสังเกตการณ์ ทาง ดาราศาสตร์ สามารถชมทิวทัศน์ ของเมือง เพชรบุรีได้โดยรอบ ในอดีต เวลากลางคืนจะจุดโคมไฟแขวนไว้ภาย ในโดมกระจก เมื่อมองจากทะเลสามารถเห็นได้แต่ไกลจึงเป็นที่หมาย ของชาวเรือในการเดิน เรือเข้าอ่าว บ้านแหลมได้อย่างดี
- เขายอดกลาง เป็น พระธาตุจอมเพชร
เป็นเจดีย์สีขาว ที่มองเห็นเด่นแต่ไกล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ โปรดเกล้าฯ ให้บูรณะเจดีย์เก่าที่มีอยู่ก่อน แล้วอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ มาบรรจุไว้และพระราชทานนามว่า พระธาตุจอมเพชร
เป็นเจดีย์สีขาว ที่มองเห็นเด่นแต่ไกล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ โปรดเกล้าฯ ให้บูรณะเจดีย์เก่าที่มีอยู่ก่อน แล้วอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ มาบรรจุไว้และพระราชทานนามว่า พระธาตุจอมเพชร
รายละเอียดเพิ่มเติม
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เขาวัง เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่ 08.30-16.30 น.
ค่าเข้าชม (รวมค่าเข้าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครคีรี) ชาวไทย 20 บาท
นักท่องเที่ยวสามารถขึ้นชมเขาวังได้โดยการเดินขึ้น หรือโดยสารรถรางไฟฟา (ตั๋วไป-กลับ รวมคาเข้าชมทั้งหมด) เสียค่าบริการ ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 15 บาท
และทุกๆ ปีจะมีงานเฉลิมฉลองพระนครคีรี มีการแสดงต่างๆ ที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรม และการจุดพลุดอกไม้ไฟ ในเวลากลางคืน โดยจะจัดขึ้นทุกวันศุกร์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นระยะเวลา 10 วัน 10 คืน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. 0-3240-1006, 0-3242-5600ค่าเข้าชม (รวมค่าเข้าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครคีรี) ชาวไทย 20 บาท
นักท่องเที่ยวสามารถขึ้นชมเขาวังได้โดยการเดินขึ้น หรือโดยสารรถรางไฟฟา (ตั๋วไป-กลับ รวมคาเข้าชมทั้งหมด) เสียค่าบริการ ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 15 บาท
รายละเอียดเพิ่มเติม
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เขาวัง เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่ 08.30-16.30 น.
ค่าเข้าชม (รวมค่าเข้าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครคีรี) ชาวไทย 20 บาท
นักท่องเที่ยวสามารถขึ้นชมเขาวังได้โดยการเดินขึ้น หรือโดยสารรถรางไฟฟา (ตั๋วไป-กลับ รวมคาเข้าชมทั้งหมด) เสียค่าบริการ ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 15 บาท
และทุกๆ ปีจะมีงานเฉลิมฉลองพระนครคีรี มีการแสดงต่างๆ ที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรม และการจุดพลุดอกไม้ไฟ ในเวลากลางคืน โดยจะจัดขึ้นทุกวันศุกร์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นระยะเวลา 10 วัน 10 คืน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. 0-3240-1006, 0-3242-5600
ค่าเข้าชม (รวมค่าเข้าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครคีรี) ชาวไทย 20 บาท
นักท่องเที่ยวสามารถขึ้นชมเขาวังได้โดยการเดินขึ้น หรือโดยสารรถรางไฟฟา (ตั๋วไป-กลับ รวมคาเข้าชมทั้งหมด) เสียค่าบริการ ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 15 บาท
และทุกๆ ปีจะมีงานเฉลิมฉลองพระนครคีรี มีการแสดงต่างๆ ที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรม และการจุดพลุดอกไม้ไฟ ในเวลากลางคืน โดยจะจัดขึ้นทุกวันศุกร์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นระยะเวลา 10 วัน 10 คืน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. 0-3240-1006, 0-3242-5600
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)